ร้านซักรีด ไม่ใช้เงินสด080624
ระวัง อัตราแลกเปลี่ยน 111123
Mac app 131122
travel money ---270422--
โรมมิ่ง โรมมิ่ง --170322--
uber ride --020422--
Google. Order from AGFG 110921
Google เยอะไปละ 100921
zip again --050921--
My GOV ID --280821--
Acorns -->Raiz --280821--
Square reader --280821--
ทันกัน ในโลกออนไลน์ 250521
Nrma app 020421
Toll bill 010421
ที่จอดรถอัจฉริยะ 230221
รู้ละว่าเฟสบุคระยำยังไง 300121
โมเดลธุรกิจ 130121
Movie World --070121--
ไม่มีความลับบนอินเตอร์เน็ต 040121
Buy car from net 010820
Ipad Pro 12.9 --030620--
Work from HOME --030420--
RTA --290220--
ไอโฟน 11 ตอนที่ 4 --250120--
ไอโฟน 11 ตอนที่ 3 --230120--
ไอโฟน 11 ตอนที่ 2 --170120--
แล้วก็ซื้อจนได้ ไอโฟน 11 --150120--
บัตรเครดิตจ่ายรถไฟได้ --080120--
Apple Watch ver.5 ตอน 2 --080120--
Chrome book --020120--
Apple Watch ver.5 --151119--
Data Technology not Information Technology --180719--
มือถือ no brand (2)--190419--
มือถือ no brand --100419--
มือถือ และไอแพด หาย100419--
facebook + messenger --260119--
Iphone 7 part II --150317--
Iphone 7 part I --140916--
ไลน์ บนคอมพิวเตอร์ --270616--
ไอ้ทูน ไอ้คล้าว --270616--
หลอกให้โหลด --200616--
Big NO Big --250316--
check in by SMS --170216--
Check in ATM --051216--
เมืองไทยไอทีปี5 (ภาค5) --311015--
เมืองไทยไอทีปี 5 (ภาค4) --201015--
เมืองไทยไอทีปี 5 (ภาค 3)--061015--
เมืองไทยไอทีปี5 (ภาค2) --051015--
เมืองไทยไอทีปี5 --280915--
opal.com.au --010915--
iPhone 5 --> iPhone 6 --130115--
iPhone 6 --121014--
Investment+Online (ver.3) --200214--
Investment+Online (ver.2) --010214--
Fast Pay by ANZ --260114--
New Version of Gmail --080114--
Investment+Online --181213--
Knet Technology --161213--
แต้มแลกตั๋ว (2) --051113--
แต้มแลกตั๋ว --301013--
Twitter --201013--
Ios 7 --021013--
Chrome Operating System (ตอน 2) --180913--
หมอดูออนไลน์ --060813--
หนังสืออิเล็คทรอนิคส์ --100713--
Ebay.com (ตอน 2) --100713--
WINDOW 8 - MOBILE PHONE --100713--
หลอก (ออฟไลน์ และออนไลน์) --300613--
www.aussiethai.com -web for Thai people - 110713
โรงแรม -สะสมแต้ม --250613--
เมืองไทยไอที (ปีที่สาม)--190513--
Driver Licence (The End) --310513--
Cloud Computing (Part 2) --150513--
จดทะเบียนบริษัทในออสเตรเลีย --230313--
จดหมายร้องเรียน -เปลี่ยน EPOS --230313--
Driver Licence ภาค 2 --180313--
ibuildapp.com (Free create Apps) --260213--
HP Service Online (24/7) --190213--
OUTLOOK.COM --040213--
iPhone 5 --030113--
BUPA.COM.AU --091212--
สองเวบไซด์ทำเงิน --191112--
ระวัง-ใช้เพลิน-เกินแพลน --220912--
Samsung Galaxy TAB --200912--
iPad 2 --180912--
Transfer Money To Thai --020712--
Samsung S3 --250612--
NBN --200612--
ซื้อที่ ออสซี่ --020612--
เมืองไทยกับไอที (ปีที่สอง) --050512--
Wii --050512--
THAI BANK ONLINE --220412--
ระบบบัญชีร้านอาหาร (ตอน 2) --160412--
eBay.com--280112--
HP - PRINTER --030312--
FREE BUSINESS CARD --030112--
ระบบบัญชีร้านอาหาร (ตอนที่ 1) --280112--
Msn & Hotmail.com --160112--
Toll Free --251211--
iPod touch --291111--
GOOGLE + --201111--
SAVINGS ACCOUNT --131111--
REWARDS CARD --301011--
ร้าน (อาหาร) เก่ากับไอที--161011--
ร้าน(อาหาร)ใหม่ กับ ไอที--021011--
Winning Business Online Program --170911--
BEC (becaustralia.org.au) --050911--
Thai-OZ Business Links --230811--
Free Tool for SMEs From ANZ Bank --090811--
LAYBY --230711--
Upgrade Samsung Galaxy S รุ่นแรก --110711--
CeBIT Australia ปีที่สาม --050611-
CHROME (WEB BROWER) --300511--
ฟรี เวบไซด์สำหรับธุรกิจในออสเตรเลีย --300511--
G O O G L E AdWords --170511--
เมืองไทยกับไอที --090311--
ห้องสมุด --020511--
Cloud computing --170411--
BILLING MOBILE ตอน 2 (บิลมา ไม่หน้ามืด) --090311--
BILLING MOBILE (ตอน บิลมา หน้ามืด ) --210211--
Google Goggles --030211--
TELSTRA T-TOUGH TAB --240111--
ตู้โค๊กอัจฉริยะ --100111--
NEWSWORKS --141210--
www.restaurantevents.com.au --201110--
MyBIZEXPO.com.au --241010--
A N - D- R O- I- D --231010--
ตำรวจออสซี่ --081010--
นานาสาระ-เมล์ --011010--
G O O G LE Again --270910--
อันดับ 4และ อันดับ 58 ของโลก --040910--
Credit Card --- 230810---
Upgrade OS-4 I PHONE --290710--
SYNC --250710--
Restaurant Online in Australia (R.O.I.A) --120710--
3 WAY OF DRIVING LICENSE --280610--
CeBIT Australia ปีที่สอง (24-26 May 2010 :Sydney)--160610--
My train ,My bus ,My ferry,My multi--270410--
ยกฟ้องค่าโรมมิ่ง --230410--
แม่กะลูกปลูกผัก --230410--
สายการบินไอที -140310-
Software IPHONE ver. 3 -080310-
การเมืองเรื่องไอที -080310-
เบื่ออีเมล์ -080310-
ระบบงานศูนย์บริการ -250110-
การประยุกต์ใช้เวบไซด์กับอาชีพหมอดูและคุณครู -240110-
ระบบเช่าซื้อ -240110-
ไอที่ใกล้ตัว -120110-
POS (POINT OF SALE) -071209-
IT FOR TRAVELLER -271109-
BIGPOND INTERNET TELSTRA -011109-
IPHONE 3GS -161109-
IPHONE -201009-
Find Food-Find IT -200909-
BACK UP DATA FREE or FEE -060909-
เปิดเครื่องขึ้นมาแล้วก็ Shutdown เอง เปิดอีกทีก็ shutdown เองอีก เป็นอย่างนี้หลายรอบ ไม่สามารถใช้งานได้ แล้วยังไงครับ จะติดต่อศูนย์บริการก็คุยคิวยาวมาก เพราะ เอเซอร์เค้าใช้เบอร์เดียวให้ลูกค้าโทรไปแจ้งปัญหา ส่วนใหญ่ต้องรอคิวนานมาก รอจนไม่อยากคุย ผู้เขียนก็เลยต้องตัดสินใจเอาเครื่องไปเข้าศูนย์บริการของเค้าที่ ฟลามิงตัน ออกไปจากซิคนีย์ประมาณครึ่งชั่วโมงได้
ผู้อ่านต้องระวังนะคับ การซื้อของที่นี่ คนขายของไม่ได้เป็นคนบริการ เวลามีปัญหา นะครับ คนขายคือขายอย่างเดียว มีปัญหาให้ติดต่อ ศูนย์บริการ ที่นี่มองว่าคนซื้อมีความรู้ ช่วยตัวเองได้บางส่วน ไม่ค่อยสะดวกกับคนที่ไม่ค่อยรู้เทคโนโลยีแบบผู้เขียน หรือหลายๆคน ที่ใช้งานอย่างเดียว
เอา ไปศูนย์เค้าก็มีกฎเขียนเอาไว้เลยครับว่า จะลบขอมูลเราก่อนติดตั้ง วินโดว์ใหม่เพราะ เค้าไม่รับผิดชอบเรืองข้อมูล ก็แน่นอนครับ ข้อมูลที่เก็บมาหลายเดือน อันตธานหายไป
เสียดายครับเสียดายข้อมูล ถ้าเรา แบ็คอัพ ซะหน่อยก็ไม่ต้องไปทำขึ้นมาใหม่แล้ว ข้อมูลบางอย่างก็ทำไม่ได้ นี่คือไม่เห็นโลงศพ ไม่หลั่งน้ำตา เหมือนล้อรถยนต์ หรือฟันของคนเรา เวลาปวดฟัน กินอะไรไม่ได้ จะเป็นอย่างไรครับ ไม่มีปัญหาไม่เห็นหรอก
อย่างผู้เขียนก็เรียกว่าระวังมากเลยครับ ยังติดได้นะไวรัสได้ ก็ไม่ทราบว่ามาจากทางไหน
อันดับแรกเลย ผู้เขียนไม่ยอมให้ทรัมไดร์ฟของใครมาใช้ที่เครื่องผู้เขียน เพราะอาจมีไวรัส ติดมาที่เครื่องได้
อันดับที่สอง ไม่ดาวน์โหลดไฟล์อะไรทั้งนั้นจากอินเตอร์เน็ต ข้อนี้ลำบากถ้าจำเป็นจริงๆก็ทำได้ อย่างกรณีนี้ผู้เขียนได้ไปโหลดโปรแกรม ของบริษัท ทรู ที่เมืองไทย ก่อนหน้ามีปัญหาการใช้งานผ่านโปรแกรมของทรู ที่เป็นระบบโทรศัพท์กลับเมืองไทยผ่านเน็ต ติดต่อศูนย์บริการเค้า ก็แก้ปัญหาให้ดาวน์โหลดโปรแกรมเวอร์ชั่นใหม่มาใช้งาน แล้วก็มีการดาวน์โหลด Google Chrome OS ตัวใหม่ของกูเกิ้ลมาใช้งาน หลังจากนั้นก็มีปัญหาเลย ไม่รู้ว่าเกิดจากการดาวน์โหลดโปรแกรมทั้งสองตัวนี้มาใช้งานหรือเปล่า
แล้วนี่ถ้าผู้อ่านไม่ระวัง อะไรจะเกิดขึ้นครับ ???
แต่ถ้าเรามีการป้องกันที่ดี คือสำรองข้อมูลตลอดเวลา ที่เราทำข้อมูลเราเสร็จแล้ว เรียกว่า ลำบากตอนต้น สบายตอนท้าย ถ้าไม่แบ็คอัพเก็บ เค้าเรียกว่า สบายตอนต้น ลำบากตอนท้าย
วิธีการแบ็คอัพ ตอนนี้ผู้เขียนก็สรุปเป็นสองวิธี คือแบบไม่เสียเงิน (FREE) และแบบเสียเงิน (FEE)
แบบไม่เสียเงิน (FREE)
SkyDrive ของ Window live hotmail หรือก็เมล์ของ hotmail นั่นแหละ SkyDrive แปลตรงตัว ก็คือที่เก็บบนท้องฟ้าละครับ มาดูแล้วตกใจให้ตั้ง 25 GB เยอะมากครับ เรียกว่า พอที่เก็บเอกสารธรรมดา ได้สบาย
วิธีการเข้าไปใช้งาน
-ก็เข้า hotmail ไปเช้คเมล์ตามปกติละครับ ท่านผู้อ่าน หลังจากนั้นก็ไปดูเมนูด้านบน จะมีคำว่า เพิ่มเติม ให้คลิกเข้าไป จะมีเมนูย่อยโชว์ออกมา จะมีคำว่า skydrive หัวข้อที่หก ครับนับจากหัวข้อบนสุดลงไป คลิกครับ หน้าจอก็จะโชว์ว่า สร้างโฟลเดอร์ กับหัวข้อเพิ่มไฟล์ ด้านล่างถัดจากหัวข้อ ก็จะมีรูปโฟลเดอร์ เขียนว่า เอกสาร รายการโปรด รายการโปรดที่ใช้ร่วมกัน (อันนี้เป็นไฟล์ที่เรายอมใช้ร่วมกับคนอื่น) แล้วก็โฟลเดอร์สาธารณะ (คงหมายถึงไฟล์ที่ยอมเปิดให้ใครดูก็ได้ แปลตรงตัวละครับ)
สร้างโฟลเดอร์ - คลิกเข้าไป ก็จะให้เราใส่ชื่อ โฟลเดอร์ แล้วก็ให้กำหนด หัวข้อว่า โฟลเดอร์นี้จะเอาอย่างไร จะให้เป็นสาธารณะ ,ใช้เฉพาะในเครือข่าย หรือ เฉพาะตัวเอง เมื่อกำหนดแล้ว จะมีคำสั่งให้คลิก คำว่า ถัดไป ถ้าคลิกแล้วก็จะมีหน้าจอ โชว์มาให้ผู้อ่าน upload file ที่ต้องการเก็บในโฟลเดอร์นี้ขึ้นไปเก็บที่ skydrive ถ้ายังไม่เก็บอะไรก็คลิก ยกเลิกออกมาจากหน้านี้ครับ ผู้เขียนคลิกคำว่ายกเลิก หน้าจอก็ถามอีกว่าต้องการเพิ่มไฟล์หรือไม่ เวลาผู้อ่านต้องการไปที่ไหน ให้ดูรายละเอียด ตรงด้านล่างของคำว่า SkyDrive ที่มุมบนด้านขวามือนะครับ จะบอกท่านผู้อ่านว่า ท่านผู้อ่านอยู่ที่ไหน เหมือนเข็มทิศ ถ้าต้องการไปที่ไหน ก็คลิกที่หัวข้อนั้นๆได้เลย เหมือนว่าทำให้เราไม่หลงทาง เหมือนบอกว่าตอนนี้เราอยู่ที่ไหน จะไปไหน จะย้อนกลับไปที่หัวข้อไหนก็คลิกเอาเลยครับ
เพิ่มไลน์ ถ้าผู้อ่านออกไปที่หัวข้อ skydrive หน้าแรกนะครับ แล้วคลิกหัวข้อ เพิ่มไฟล์ จะมีหน้าจอ
โชว์ ขึ้นมาให้เราเลือกโฟลเดอร์ ที่เราต้องการเก็บไฟล์ ที่เราจะ upload ขึ้นไปเก็บ เลือกครับ แล้วจะมีหน้าจอโชว์ให้ upload file หลังจากนั้นก็ทำตามขั้นตอนตามปกติละครับ เลือกไฟล์จากฮาร์ดดิสก์ ของเรา แล้วก็ คลิก Browse เร็วครับ เร็วใช้ได้ ไม่เสียเวลาอะไรมาก ทดลองดูครับ
G-Document ของ Gmail ถ้าท่านผู้อ่านมีอีเมล์ของ gmail อยู่แล้วก็ง่ายครับ ไปเช็คอีเมล์ตามปกติครับ แล้วดูเมนูที่ด้านบน จะมีคำว่า Document คลิกเลยครับ ก็จะเข้าไปที่ระบบเอกสารของ gmail ครับ
วิธีกการเข้าไปใช้งาน
กรณีที่ไม่มียังไม่ได้สมัครนะครับ ให้ไปที่ http://www.google.com/google-d-s/intl/th/tour1.html สมัครเข้าไปใช้งานได้เลยครับ แต่ผู้อ่านต้องมีเมล์ของ gmail ก่อนนะครับ ขั้นตอนการสมัครก็ทำตามที่เค้าให้กรอกครับ ใส่ชื่อเมล์ ยืนยันรหัส สองครั้งเสร็จแล้วครับ ก็จะโชว์หน้าจอการใช้งานขึ้นมา หน้าจอจะต่างจาก skydrive ของ hotmail นะครับ ในความเห็นของผู้เขียน น่าจะใช้งานง่ายกว่า เข้าใจการใช้งานได้ง่ายกว่า ด้านซ้ายมือจะมีคำอธิบาย แล้วก็มีการสร้างโฟลเดอร์ ชื่อต่างๆ เมนูด้านบนก็จะมีคำว่า New Upload Share Move to Hide Delete Rename More actions
New เวลาคลิกข้อนี้ ก็จะมีข้อย่อยโชว์ว่า document presentation spreadsheet form folder from-template หมายความว่าให้ผู้เขียนเลือกประเภทของเอกสารนั่นเองว่าจะสร้างแบบไหน อันนี้ผู้เขียนคิดว่า เหนือชั้นกว่า skydrive ของ hotmail เรียกว่า เป็นระบบเอกสารออนไลน์ มากกว่า ไม่ใช่ระบบเก็บข้อมูลออนไลน์ ซึ่ง skydrive น่าจะเทียบได้กับ หัวข้อ upload ของ G-doucument ที่เป็นหัวข้อถัดไปที่จะกล่าวถึง
ผู้เขียนลองไปคลิกคำว่า folder ครับ ก็จะเป็นการสร้างโฟลเดอร์ ที่จะเก็บเอกสาร ง่ายครับก็บันทึกชื่อแล้วก็เซฟ ถ้าผู้อ่านจะลองไปใช้ระบบเอกสารก็คลิกคำว่า document ครับ ก็จะโชว์หน้าจอ ที่มีด้านบนซ้ายมือเขียนว่า google docs ครับ ทดลองพิมพ์รายละเอียดต่างๆได้เลยครับ เล่นเหมือนกับ word processing ครับ ง่ายมากครับ แล้วก็มีคำสั่งต่างๆ เหมือนกับการเล่น word ธรรมดาเลยครับ แทบไม่เห็นความแตกต่าง (นี่ละมั้งครับไมโครซอฟต์ถึงได้กลัว กูเกิ้ลครับ เป็น word online ไปซะแล้ว ไม่โครซอฟต์เองก็ทำ window live มีทุกอย่างออนไลน์เหมือนกันละครับ)
Upload คลิกเข้าไปก็จะมีให้ upload file คล้ายกับที่ skydrive ให้เรา Browse file ที่ต้องการเก็บ ทดลองทำดูแล้วก็ใช้ได้ครับ
Share อันนี้ก็หมายความว่าให้ไปที่ file ของเราคลิกที่กรอบหน้า file ที่เราต้องการแชร์ให้คนอื่น แล้วก็มาคลิกคำว่า share หน้าจอก็จะขี้นให้เรา invite people เราก็บันทึก อีเมล์ลงไป แล้วก็อธิบายรายละเอียด คลิก sent หลังจากนั้นจะโชว์หน้าจออีกว่าจะให้คนที่มา share แก้ไข (edit) ได้หรือไม่ หรือจะให้ดูอย่างเดียวกำหนดได้อีก หลังจากนั้นผู้เขียนก็ลองไปเข้าอีเมล์ ที่เราส่งว่าให้ share file ของเราไปก็จะเป็นลักษณะ มีอีเมล์จากเราส่งไปให้อีเมล์ที่เราให้ share file กับเราเลยครับ ส่งไปเป็นรูปแบบ url ถ้าคลิกแล้วก็จะโชว์ file ของเราครับ สะดวกมากครับ
Move to ก็หมายถึงการที่เราจะย้ายที่เก็บ file ของเรานั่นแหละ ไปที่ file ที่ต้องการย้ายที่เก็บ ติ๊กที่หน้ากล่องสี่เหลี่ยม แล้วก็ไปคลิก move to เลือก my folder หน้าจอจะโชว์ชื่อโฟลเดอร์ เลือกอันใดอันหนึ่ง คลิก แล้วลงมาคลิกคำว่า move to folder ที่ด้านล่าง เป็นอันเสร็จพิธี ย้ายที่เก็บเรียบร้อยแล้ว
Hide Delete Rename สามหัวข้อนี้แปลตรงตัวครับท่านผู้อ่าน จะซ่อน file หรือ ลบ file หรือจะเปลี่ยนชื่อ file ทำได้ตามสบายครับ
More actions ก็เป็นการประกาศ file ให้เป็นสาธารณะ หรือ จะแปลง file เป็นรูปแบบต่างๆ
พื้นที่ที่ให้ในการใช้งานของ G-Document ผู้เขียนพยายามหาว่าอยู่ที่ไหน แต่ไม่เจอครับ เข้าใจว่าไม่น่าจะน้อยนะครับ เพราะอย่าง อีเมล์ยังให้พื้นที่แบบไม่จำกัดเลย ไม่ต้องกังวลครับคิดว่าพอที่จะเก็บข้อมูล ถ้าต้องการพื้นที่มากๆก็สมัครหลายๆอีเมล์ ทั้ง hotmail และก็ gmail ก็แล้วกันครับ
แบบเสียเงิน (FEE)
แบ่งเป็นแบบ เก็บแบบออฟไลน์ และเก็บแบบออนไลน์ ครับ
แบบออฟไลน์ ก็คือ external hard disk ที่เก็บข้อมูลที่เหมือนเป็นฮาร์ดดิสก์ลูกใหญ่ๆ ละครับต่อจาก พอร์ท usb ของเครื่องคอมพิวเตอร์เวลาจะเก็บก็ใช้คำสั่งไปเก็บ จากภาพเป็นตัวอย่างของที่เก็บข้อมูลยี่ห้อหนึ่งครับ จากเวบ tohome.com
Buffalo 1.0TB DriveStation USB 2.0 with Full Disk Encryption (HD-CX1.0TU2-A4) ราคา
แบบออนไลน์ เท่าที่ไปค้นหาที่ google ครับ มีข้อมูลจากเวบไซด์ http://www.onlinebackupreviews.com/Personal-Online-Backup.html จะมีผู้ให้บริการเก็บข้อมูลออนไลน์ สำหรับบุคคล เยอะพอสมควร ลองศึกษาดูนะครับ ผู้เขียนทราบจากข้อมูลที่ได้รับก่อนหน้านี้ว่า ค่าบริการเก็บข้อมูลออนไลน์ตกประมาณ 49 $ ต่อปี ก็ประมาณเดือนละ 4$ โดยมีการให้ upload ไปเก็บที่ พื้นที่ออนไลน์แบบไม่จำกัด ครับก็น่าสนใจดี สำหรับท่านที่คิดว่า จะป้องกันปัญหาก่อนที่จะเกิดขึ้น แล้วก็คิดว่าข้อมูลเป็นเรื่องที่สำคัญที่สุด เพราะเครื่องคอมพิวเตอร์จะเล่น จะใช้ที่ไหนก็ได้ ขอให้มีข้อมูล
ผู้เขียนคิดว่าในอนาคต ผู้อ่านทุกท่าน จะต้องมีที่เก็บข้อมูลออนไลน์ของตัวเอง เพื่อเก็บข้อมูล เก็บรูปภาพ เพลง หรืออะไรต่างๆตามที่เราต้องการ มันจะง่ายในการหยิบ มาใช้งาน ไม่ใช่ไปอยู่ในเครื่องที่บ้าน อยู่ที่ทรัมไดร์ฟ แล้วก็ลืมพกติดตัวไป คือเราจะเข้าใช้ข้อมูลได้ทุกที่ ทุกเวลา สัมพันธ์กับปัจจุบันที่ระบบอินเตอร์เน็ตเริ่มครอบคลุม การใช้งานได้พื้นที่กว้างขวางขึ้น แล้วก็เร็วมากขึ้นกว่าในอดีต นี่คือตัวบ่งชี้ของการเป็นสังคมแบบ ANYTIME ANYWHERE ANYDEVICE ตามความเห็นของบิลเกตต์ ไมโครซอฟต์ที่เคยพูดเอาไว้ แล้วคอยดูกันต่อไปครับว่าจะจริงอย่างที่ผู้เขียนทำนายหรือเปล่า ????
เมาเวบ เวบชุมชน (community website) -240809-
TEL TO THAI -140609-
หาคู่จากอินเตอร์เน็ต ภาค 2 -110609-
SKYPE โปรแกรมดีคุยฟรีทั่วโลก
WINDOW LIVE MESSENGER (MSN) -050209-
SMS (Short Messaging Service) -200309-
จดหมายรักจากอินเตอร์เน็ต -050409-
หาคู่ จากอินเตอร์เน็ต -080409-
Booking online -190509-
Alibaba.com = Global trade starts here -290509-
CeBIT IT Australia (12-14/05/09) -170509-
Free dictionary -170509-
Internet banking -260309-
การสร้างเวบไซด์ E-shop online -0109-
|