ร้านซักรีด ไม่ใช้เงินสด080624
ระวัง อัตราแลกเปลี่ยน 111123
Mac app 131122
travel money ---270422--
โรมมิ่ง โรมมิ่ง --170322--
uber ride --020422--
Google. Order from AGFG 110921
Google เยอะไปละ 100921
zip again --050921--
My GOV ID --280821--
Acorns -->Raiz --280821--
Square reader --280821--
ทันกัน ในโลกออนไลน์ 250521
Nrma app 020421
Toll bill 010421
ที่จอดรถอัจฉริยะ 230221
รู้ละว่าเฟสบุคระยำยังไง 300121
โมเดลธุรกิจ 130121
Movie World --070121--
ไม่มีความลับบนอินเตอร์เน็ต 040121
Buy car from net 010820
Ipad Pro 12.9 --030620--
Work from HOME --030420--
RTA --290220--
ไอโฟน 11 ตอนที่ 4 --250120--
ไอโฟน 11 ตอนที่ 3 --230120--
ไอโฟน 11 ตอนที่ 2 --170120--
แล้วก็ซื้อจนได้ ไอโฟน 11 --150120--
บัตรเครดิตจ่ายรถไฟได้ --080120--
Apple Watch ver.5 ตอน 2 --080120--
Chrome book --020120--
Apple Watch ver.5 --151119--
Data Technology not Information Technology --180719--
มือถือ no brand (2)--190419--
มือถือ no brand --100419--
มือถือ และไอแพด หาย100419--
facebook + messenger --260119--
Iphone 7 part II --150317--
Iphone 7 part I --140916--
ไลน์ บนคอมพิวเตอร์ --270616--
ไอ้ทูน ไอ้คล้าว --270616--
หลอกให้โหลด --200616--
Big NO Big --250316--
check in by SMS --170216--
Check in ATM --051216--
เมืองไทยไอทีปี5 (ภาค5) --311015--
เมืองไทยไอทีปี 5 (ภาค4) --201015--
เมืองไทยไอทีปี 5 (ภาค 3)--061015--
เมืองไทยไอทีปี5 (ภาค2) --051015--
เมืองไทยไอทีปี5 --280915--
opal.com.au --010915--
iPhone 5 --> iPhone 6 --130115--
iPhone 6 --121014--
Investment+Online (ver.3) --200214--
Investment+Online (ver.2) --010214--
Fast Pay by ANZ --260114--
New Version of Gmail --080114--
Investment+Online --181213--
Knet Technology --161213--
แต้มแลกตั๋ว (2) --051113--
แต้มแลกตั๋ว --301013--
Twitter --201013--
Ios 7 --021013--
Chrome Operating System (ตอน 2) --180913--
Chrome Operating System (ตอน 2)
เรื่อง Chrome เคยเขียนตอนที่ 1 ไปเมื่อ เดือน 5 ปี 2011 นี่ก็สองปีมาแล้ว ครั้งนั้นเขียนแค่ว่า มันเป็น operating system ตัวใหม่ที่ช่วยให้ท่านผู้อ่านเข้าถึงเวบไซด์ ได้รวดเร็วขึ้น ณ ตอนนี้ ผู้เขียนได้ทดลองใช้ Chrome os(operating system) มาเป็นเวลาพอสมควรแล้ว จากเดิมที่ใช้ทั้ง Explorer และ Chrome แต่ตอนนี้แทบจะใช้ chrome os ตัวเดียวเลย คงเป็นเพราะความสะดวก ในการใช้งาน ที่แน่ๆเลย ตรงเมนูบาร์ด้านบน มีการโชว์เวบไซด์ต่างๆที่เราเซ็ทเอาไว้เป็นกลุ่มๆเลย แล้วแต่เราตั้งชื่อขึ้นมา และเวลาเจอเวบที่น่าสนใจเราก็เซฟ ไปเก็บไว้เป็นกลุ่มๆ ทำให้ง่ายในการท่องเวบ หรือหาข้อมูล เรียกใช้ข้อมูล และเวลาที่เราไปใช้งานเครื่องอื่นที่เป็น Chrome os เหมือนกัน ก็แค่ login เข้าไปใช้งานด้วยชื่อ gmail และ password ของเรา แค่นี้แถบบาร์ด้านบน ก็จะโชว์ขึ้นมา เรียกว่าเราจะใช้งานที่ไหนข้อมูลเก่า เวบที่เราเซฟเอาไว้ก็จะโชว์ขึ้นมา ง่ายในการเรียกใช้งาน สะดวกมากครับ หลังจากที่ผู้เขียนใช้งาน Chrome os ที่เครื่อง PC มาซักพัก ก็เผอิญไปเห็นว่า Chrome os มีเวอร์ชั่นบน Tablet และบนมือถือ เรียกว่า มีทุกแพลตฟอร์มเลย ว่างั้น มองๆไปเราลองมาวิเคราะห์ ไมโครซอฟต์ ที่มี Window ค่ายนี้ก็พยายามที่จะไปทุกแพลตฟอร์มเหมือนกัน นั่นก็คือ เครื่อง PC กับ window ทุกคนก็ใช้กันอยู่แล้วใครๆก็ใช้อยู่ บริษัทนี้ก็ออก surface Tablet ของตัวเองขึ้นมา รัน window 8 บน Tablet แล้วก็พยายามจะตีตลาดมือถือ โดยมี Window mobile ที่ร่วมมือกับค่าย NOKIA ออกมีถือที่รันด้วย Window เช่นเดียวกัน ก็จะมีแต่สองค่ายยักษ์ใหญ่ที่แข่งกัน มันช่างเหมือนโค๊ก แข่งกับเป๊ปซี่ ประชาธิปัตย์แข่งกับเพื่อไทย AIS กับ DTAC ถ้าเป็นมวยทางเทคโนโลยี่คู่นี้ก็คือ Google และ Microsoft นั่นเองครับ สมน้ำสมเนื้อครับ (ล่าสุดมือข่าวว่า ไมโครซอฟต์ได้ประกาศซื้อโนเกียเป็นที่เรียบร้อยไปแล้ว ก่อนหน้านี้ Google ก็ซื้อโมโตโรล่า ไปเหมือนกัน จะเห็นได้ว่า Google เร็วกว่าไมโครซอฟต์ไปหลายก้าวเรื่องการทำตลาดบนมือถือ)
เริ่มแรกจากที่ Google ออก Chrome os ขึ้นมาก็เริ่มจาก ใช้งานบน PC ก่อนหลังจากเป็นที่นิยม Google ก็มี Android os บนมือถือออกมา เพื่อให้ค่ายมือถือเอา os พวกนี้ไปใช้งานฟรี มันคงไม่ใช่ความบังเอิญที่ Android เป็นที่นิยมในตลาดมือถือ จากการติดตามข่าว อย่างที่ผู้เขียนบอกในขั้นต้น ตอนนี้ Google หันกลับมาพัฒนา Chrome os บนมือถือ และ Chrome Tablet แล้วยังมี Chrome Book อีก แล้วถามว่า เจ้า Chrome Book นี่คืออะไร มันก็คือเครื่องคล้าย Labtop แต่ไม่มี hard disk ต้องเชื่อม wifi อินเตอร์เน็ต เท่านั้น เปิดเครื่องมาก็รัน Chrome os ทันที ข้อมูลทั้งหมดอยู่ที่ google (icloud) ทั้งหมด เร็ว เหมาะสำหรับคนที่ท่องเน็ต ทำงานผ่านเน็ต ทันสมัยนิยมในยุค cloud computing ก็คือทำงานที่ไหนก็ได้ที่มีอินเตอร์เน็ต (Anytime ,Anywhere)
Chrome os บนมือถือ Android
ผู้เขียนเข้าไปใช้งานที่มีถือที่มี Android เข้าไปที่หน้าเวบไซด์ ไปที่ Google ค้นหาคำว่า “download chrome mobile”
-ครับไปเลือกเวบไซด์ที่ ดาวน์โหลด ครับ หน้าจอขี้นให้เลือก google play or app store
-ตอนนี้ผู้เขียนใช้ Android ก็ต้องเลือก ที่ไอคอน Google play ครับ
-แตะที่ไอคอน install ครับ
-รอ ครับ ช้ามากครับ ผู้เขียนเลยไปใช้อีกช่องทางหนึ่ง คือ ไปแตะที่ ไอคอน Google play ที่หน้าจอมือถือของผู้เขียนโดยตรงเลยครับ
-แล้วก็ใส่คำว่า “ Chrome for Android”
-มีหัวข้อให้เลือก มากเลยครับ
-ไม่เจอ chrome for android ครับ หาหลายรอบเลยครับ แต่เจอ Firefox browser for Android งง ครับ ยังไงกันครับเนี่ย
-ไปที่ google.com ใหม่ครับ search คำว่า chrome for android
-เจอ chrome beta ครับแตะ ติดตั้ง รอครับ
-ไม่ได้ผลครับ นานมากหน้าจอเป็นสีขาว ผู้เขียนไม่แน่ใจแล้วว่า Android ของผู้เขียนเวอร์ชั่นเก่าไปหรือว่า มือถือรุ่นเก่าไป เอาเป็นว่าหลักการ น่าจะได้ครับ ถ้าเราโหลดมาได้แล้ว ก็คงมีหน้าตาคล้าย Chrome on PC ครับ ที่เราสามารถเรียก เวบไซด์ต่างๆที่เราเซฟเอาไว้แล้วมาใช้งานที่มือถือได้เลย นี่คือความสะดวกในการท่องเวบบนมือถือครับ ทุกอย่างเป็นข้อมูลเดียวกัน ไม่เสียเวลา
Chrome os บนมือถือ iPhone
-ไปที่ App store แล้วก็หาคำว่า Chrome iPhone
-เจอแล้วครับ หน้าจอโชว์ โลโก้ Chrome ขึ้นมา Free download ครับ install APP ครับ
-ระบบให้ใส่ password
-คลิก OK รอติดตั้งโปรแกรมครับ
-เสร็จแล้วครับ มี icon ขึ้นที่หน้าจอมือถือแล้วครับ ทดลองคลิกดูครับ
-มีเงื่อนไข การใช้งานให้เราคลิก accept and continue
-แล้วก็ sign in ด้วย user name and password ของ gmail ครับ
-หน้าจอขึ้นมาถามว่า Take a tour ครับแตะเพื่อดูว่า โปรแกรมจะบอกอะไรเราบ้าง ใช้อะไรได้บ้าง หน้าจอ ขึ้นโหลดโปรแกรม รอซักพักมีหน้าจอต่างๆโชว์มาว่าใช้อะไรได้บ้าง
-ทดลองใช้งานครับ ผู้เขียนพยายามจะหา Bookmarks ที่เคยเซฟไว้ตอนใช้งาน Chrome บนเครื่องคอมพิวเตอร์ว่าอยู่ที่ไหน หาตั้งนานไม่เจอครับว่าอยู่ไหน เพราะพื้นที่หน้าจอโทรศัพท์มันเล็ก มันไม่สามารถโชว์มาที่ด้านบน เหมือนการใช้งาน Chrome บนพีซีได้ เจอแล้วครับ ที่ด้านบนสุด มีขีดสามขีดอยู่ด้านขวามือของช่องที่ให้เราใส่ url แตะไปที่ขีดสามขีดนี้ครับ จะมีเมนูให้เลือก ผู้อ่านเลือก Bookmarks ครับ จะมีหัวข้อให้เราเลือกว่า Mobile Bookmarks ,Other Bookmarks ,Desktop Bookmarks ผู้เขียนแตะที่ Desktop Bookmarks ครับ ขึ้นมาแล้วครับ เวบไซด์กลุ่มต่างๆที่เราเซฟเอาไว้ตอนที่เราเล่น Chtome บนพีซี ง่ายแล้วหละครับตอนนี้ ไม่เสียเวลาแล้วหละครับ เราเรียกเวบไซด์ที่เราใช้งานบ่อยๆขึ้นมาได้เลย ไม่ต้องไปพิมพ์ url เพื่อเรียกเวบไซด์ต่างๆมาใช้งานครับ
-ที่มุมขวามือสุดด้านบน จะมีกรอบสี่เหลี่ยมเล็กๆ และมีตัวเลขแจ้งว่า เราเปิดเวบไซด์มากี่เวบแล้ว เวลาที่เราแตะที่กรอบเล็กๆที่มีตัวเลข เวบไซด์ต่างๆที่เราเปิดก็จะโชว์ออกมาในแนวตั้งครับ ไล่ลงไปจากบนลงล่าง เพราะพื้นที่จำกัดนั่นเอง จึงออกแบบให้แสดงผลในแนวตั้ง แทนแนวนอนที่แสดงผลที่พีซี
-เวลาที่ต้องการเข้าหน้าเวบไซด์ใหม่ก็ให้ไปแตะที่เครื่องหมาย +ที่ด้านซ้ายมือด้านบนของจอภาพ หน้าจอก็จะโชว์ขึ้นมาให้ท่านใส่ url ของเวบไซด์ที่ท่านต้องการจะเข้าไปใช้งาน
Chrome os บนมือถือ iPad
-เผอิญว่า เครื่องมือถือของผู้เขียนที่ดาวน์โหลด Chrome ลงไป เซ็ทไว้ให้เชื่อมต่อกับเครื่อง iPad ที่ผู้เขียนใช้งานอยู่ ดังนั้น ที่หน้าจอ iPad ก็จะมีโปรแกรม Chrome ปรากฏขี้นมาอัตโนมัติ ผู้เขียนสามารถใช้งาน Chrome บน iPad ได้เลยครับไม่เสียเวลาดาวน์โหลดโปรแกรม Chrome ใหม่บนเครื่อง iPad ครับ
-ทดลองใช้งาน แตะไปที่รูป icon Chrome ที่ iPad หน้าจอโชว์ให้เรายอมรับเงื่อนไขการใช้งานคครับ
-หน้าจอให้เรา sign in ก็ใส่ user name and password ก็คือ ชื่ออีเมล์ของ gmail และ password ครับ
-เข้ามาแล้วครับ เหมือนตอนเข้าที่มือถือเลยครับ Take a tour ไม่แล้วครับ ผู้เขียนทดลองเล่นเลย
-การใช้งานจะคล้ายกับการใช้งานบนเครื่องมือถือครับ
-ส่วนการใช้งานอื่น การเรียก Bookmarks มาใช้งานก็แตะ ขีดสามขีด ที่ด้านบนขวามือของช่องใส่ url เหมือนกับการใช้งาน Chrome บนมือถือครับ แต่สะดวกกว่า ที่หน้าจอมันกว้างกว่า เรียกว่า เหมือนการใช้ chrome บนพีซีเลยครับ
ลูกเล่นอื่นๆ ของ Chrome
Google Chrome to phone
-ไปที่ google play ที่มือถือ Android ไป search คำว่า Chrome จะมีโปรแกรมหลากหลายให้เราเลือกครับ
-ผู้เขียนเจอ ไอคอนแรก เขียนว่า Google Chrome to Phone แตะครับ
-แล้วก็แตะ install à accept àopen
-เรียบร้อยแล้วครับ หน้าจอขึ้นหัวข้อ Chrome to Phone มีเงื่อนไขการบริการ
-หน้าจอถามว่าให้เลือก account gmail ที่จะใช้ chrome แล้วก็แตะ next รอซักพัก
-แตะ allow หน้าจอทำงานเหมือนจะส่งผ่านข้อมูลบางอย่างมาที่มือถือ
-หน้าจอถาม ว่า Automatically launch links หรือ let me launch links manually ผู้เขียนเลือก autoแตะ next
-แตะ finish
-ไปที่ไอคอน บนหน้ามือถือ จะมีไอคอนใหม่ ชื่อว่า Chrome to Phone โชว์ขี้นมาครับ
-คราวนี้ท่านผู้อ่านก็ต้องไปที่เครื่องพีซีของท่านผู้อ่านด้วย แล้วก็ไปที่ google play เหมือนกัน ไปหาโปรแกรม ชื่อเดียวกัน คือ Google Chrome to Phone แล้วก็ไปแตะที่ เครื่องหมายบวก จะมีกรอบเล็กๆขึ้นมาสอบถามท่านว่า confirm new extention ,add google chrome to phone extension ? คลิก add ที่ด้านบนของจอคอมพิวเตอร์ของผู้เขียน มีรูปโทรศัพท์มือถือ โชว์อยู่ แล้วด้านล่างของจอภาพ ก็มี รายการที่เกี่ยวข้องขึ้นมาให้เลือกอีก ก็คือมีอีกหลายโปรแกรมที่ท่านเลือกใช้บริการได้อาทิเช่น
-Chrome to Mobile ,Phone 2 Google Chrome ,sent to iphone myphonedesktop -ได้เวลาทดสอบแล้วครับ ผู้เขียนไปคลิกที่รูปมือถือด้านบนขวามือของจอภาพคอมพิวเตอร์ หน้าจอโชว์ว่า ให้ sign in to Chrome to Phone
-ใส่ user name and password
-คราวนี้ลองไปเล่นเวบไซด์ อะไรก็ได้ที่เครื่องพีซี แล้วไปคลิกที่รูปมือถือด้านบนขวามือของจอภาพ url ที่โชว์ที่หน้าจอคอมพิวเตอร์ ไปโชว์ที่หน้าจอมือถือของเราได้เลย สุดยอดครับ สรุปว่า เป็นการส่งข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ไปที่มือถือของเราที่ใช้ Android ครับทำได้ไง ???
-ในกรณี ที่ต้องการใช้โปรแกรม ลูกเล่นต่างๆเพิ่มเติมให้ไปหาได้ที่ chrome.google.com/extensions ครับเยอะแยะครับ
สุดท้ายนี้ก็หวังว่า ท่านผู้อ่านก็จะมีทางเลือกในการใช้งานอินเตอร์เน็ตเพิ่มขึ้นมาอีกหนึ่งทางเลือกครับ แทนที่จะใช้งานแค่ Explorer ของไมโครซอฟต์เจ้าเดียว อาจลองหันมามอง Chrome ของค่าย Google ดูบ้าง อาจมีจะเปลี่ยนใจมาใช้ก็ได้นะครับ ลองดูครับ
หมอดูออนไลน์ --060813--
หนังสืออิเล็คทรอนิคส์ --100713--
Ebay.com (ตอน 2) --100713--
WINDOW 8 - MOBILE PHONE --100713--
หลอก (ออฟไลน์ และออนไลน์) --300613--
www.aussiethai.com -web for Thai people - 110713
โรงแรม -สะสมแต้ม --250613--
เมืองไทยไอที (ปีที่สาม)--190513--
Driver Licence (The End) --310513--
Cloud Computing (Part 2) --150513--
จดทะเบียนบริษัทในออสเตรเลีย --230313--
จดหมายร้องเรียน -เปลี่ยน EPOS --230313--
Driver Licence ภาค 2 --180313--
ibuildapp.com (Free create Apps) --260213--
HP Service Online (24/7) --190213--
OUTLOOK.COM --040213--
iPhone 5 --030113--
BUPA.COM.AU --091212--
สองเวบไซด์ทำเงิน --191112--
ระวัง-ใช้เพลิน-เกินแพลน --220912--
Samsung Galaxy TAB --200912--
iPad 2 --180912--
Transfer Money To Thai --020712--
Samsung S3 --250612--
NBN --200612--
ซื้อที่ ออสซี่ --020612--
เมืองไทยกับไอที (ปีที่สอง) --050512--
Wii --050512--
THAI BANK ONLINE --220412--
ระบบบัญชีร้านอาหาร (ตอน 2) --160412--
eBay.com--280112--
HP - PRINTER --030312--
FREE BUSINESS CARD --030112--
ระบบบัญชีร้านอาหาร (ตอนที่ 1) --280112--
Msn & Hotmail.com --160112--
Toll Free --251211--
iPod touch --291111--
GOOGLE + --201111--
SAVINGS ACCOUNT --131111--
REWARDS CARD --301011--
ร้าน (อาหาร) เก่ากับไอที--161011--
ร้าน(อาหาร)ใหม่ กับ ไอที--021011--
Winning Business Online Program --170911--
BEC (becaustralia.org.au) --050911--
Thai-OZ Business Links --230811--
Free Tool for SMEs From ANZ Bank --090811--
LAYBY --230711--
Upgrade Samsung Galaxy S รุ่นแรก --110711--
CeBIT Australia ปีที่สาม --050611-
CHROME (WEB BROWER) --300511--
ฟรี เวบไซด์สำหรับธุรกิจในออสเตรเลีย --300511--
G O O G L E AdWords --170511--
เมืองไทยกับไอที --090311--
ห้องสมุด --020511--
Cloud computing --170411--
BILLING MOBILE ตอน 2 (บิลมา ไม่หน้ามืด) --090311--
BILLING MOBILE (ตอน บิลมา หน้ามืด ) --210211--
Google Goggles --030211--
TELSTRA T-TOUGH TAB --240111--
ตู้โค๊กอัจฉริยะ --100111--
NEWSWORKS --141210--
www.restaurantevents.com.au --201110--
MyBIZEXPO.com.au --241010--
A N - D- R O- I- D --231010--
ตำรวจออสซี่ --081010--
นานาสาระ-เมล์ --011010--
G O O G LE Again --270910--
อันดับ 4และ อันดับ 58 ของโลก --040910--
Credit Card --- 230810---
Upgrade OS-4 I PHONE --290710--
SYNC --250710--
Restaurant Online in Australia (R.O.I.A) --120710--
3 WAY OF DRIVING LICENSE --280610--
CeBIT Australia ปีที่สอง (24-26 May 2010 :Sydney)--160610--
My train ,My bus ,My ferry,My multi--270410--
ยกฟ้องค่าโรมมิ่ง --230410--
แม่กะลูกปลูกผัก --230410--
สายการบินไอที -140310-
Software IPHONE ver. 3 -080310-
การเมืองเรื่องไอที -080310-
เบื่ออีเมล์ -080310-
ระบบงานศูนย์บริการ -250110-
การประยุกต์ใช้เวบไซด์กับอาชีพหมอดูและคุณครู -240110-
ระบบเช่าซื้อ -240110-
ไอที่ใกล้ตัว -120110-
POS (POINT OF SALE) -071209-
IT FOR TRAVELLER -271109-
BIGPOND INTERNET TELSTRA -011109-
IPHONE 3GS -161109-
IPHONE -201009-
Find Food-Find IT -200909-
BACK UP DATA FREE or FEE -060909-
เมาเวบ เวบชุมชน (community website) -240809-
TEL TO THAI -140609-
หาคู่จากอินเตอร์เน็ต ภาค 2 -110609-
SKYPE โปรแกรมดีคุยฟรีทั่วโลก
WINDOW LIVE MESSENGER (MSN) -050209-
SMS (Short Messaging Service) -200309-
จดหมายรักจากอินเตอร์เน็ต -050409-
หาคู่ จากอินเตอร์เน็ต -080409-
Booking online -190509-
Alibaba.com = Global trade starts here -290509-
CeBIT IT Australia (12-14/05/09) -170509-
Free dictionary -170509-
Internet banking -260309-
การสร้างเวบไซด์ E-shop online -0109-
|